Language
 - 
Afrikaans
 - 
af
Albanian
 - 
sq
Amharic
 - 
am
Arabic
 - 
ar
Armenian
 - 
hy
Azerbaijani
 - 
az
Basque
 - 
eu
Belarusian
 - 
be
Bengali
 - 
bn
Bosnian
 - 
bs
Bulgarian
 - 
bg
Catalan
 - 
ca
Cebuano
 - 
ceb
Chichewa
 - 
ny
Chinese (Simplified)
 - 
zh-CN
Chinese (Traditional)
 - 
zh-TW
Corsican
 - 
co
Croatian
 - 
hr
Czech
 - 
cs
Danish
 - 
da
Dutch
 - 
nl
English
 - 
en
Esperanto
 - 
eo
Estonian
 - 
et
Filipino
 - 
tl
Finnish
 - 
fi
French
 - 
fr
Frisian
 - 
fy
Galician
 - 
gl
Georgian
 - 
ka
German
 - 
de
Greek
 - 
el
Gujarati
 - 
gu
Haitian Creole
 - 
ht
Hausa
 - 
ha
Hawaiian
 - 
haw
Hebrew
 - 
iw
Hindi
 - 
hi
Hmong
 - 
hmn
Hungarian
 - 
hu
Icelandic
 - 
is
Igbo
 - 
ig
Indonesian
 - 
id
Irish
 - 
ga
Italian
 - 
it
Japanese
 - 
ja
Javanese
 - 
jw
Kannada
 - 
kn
Kazakh
 - 
kk
Khmer
 - 
km
Korean
 - 
ko
Kurdish (Kurmanji)
 - 
ku
Kyrgyz
 - 
ky
Lao
 - 
lo
Latin
 - 
la
Latvian
 - 
lv
Lithuanian
 - 
lt
Luxembourgish
 - 
lb
Macedonian
 - 
mk
Malagasy
 - 
mg
Malay
 - 
ms
Malayalam
 - 
ml
Maltese
 - 
mt
Maori
 - 
mi
Marathi
 - 
mr
Mongolian
 - 
mn
Myanmar (Burmese)
 - 
my
Nepali
 - 
ne
Norwegian
 - 
no
Pashto
 - 
ps
Persian
 - 
fa
Polish
 - 
pl
Portuguese
 - 
pt
Punjabi
 - 
pa
Romanian
 - 
ro
Russian
 - 
ru
Samoan
 - 
sm
Scots Gaelic
 - 
gd
Serbian
 - 
sr
Sesotho
 - 
st
Shona
 - 
sn
Sindhi
 - 
sd
Sinhala
 - 
si
Slovak
 - 
sk
Slovenian
 - 
sl
Somali
 - 
so
Spanish
 - 
es
Sundanese
 - 
su
Swahili
 - 
sw
Swedish
 - 
sv
Tajik
 - 
tg
Tamil
 - 
ta
Telugu
 - 
te
Thai
 - 
th
Turkish
 - 
tr
Ukrainian
 - 
uk
Urdu
 - 
ur
Uzbek
 - 
uz
Vietnamese
 - 
vi
Welsh
 - 
cy
Xhosa
 - 
xh
Yiddish
 - 
yi
Yoruba
 - 
yo
Zulu
 - 
zu
๔๖

พระปิลินทวัจฉเถระ

ในพุทธุปบาทกาลนี้ ท่านพระปิลินทวัจฉเถระ บังเกิดในตระกูลพราหมณ์ วัจฉโคตร ท่านชื่อว่า “ปิลินทะ” เรียกชื่อรวมเข้ากับโคตรด้วยว่า ปิลินทวัจฉะ เมื่อเจริญวัยแล้ว ได้ฟังธรรมเทศนาของพระศาสดา บังเกิดศรัทธาแก่กล้า ได้บรรพชาอุปสมบทในพระพุทธศาสนา ครั้นได้อุปสมบทเป็นภิกษุแล้ว ไม่ประมาท อุตส่าห์บำเพ็ญเพียร ในวิปัสสนากรรมฐาน ไม่นานก็สำเร็จพระอรหัตผลเป็นพระอเสขบุคคลในพระพุทธศาสนา  ท่านปิลินทวัจฉะ เมื่อพูดกับคฤหัสถ์ก็ดี ภิกษุก็ดี ใช้โวหารว่า “วสล” ซึ่งแปลว่า “เป็นคนถ่อย” อันเป็นคำหยาบคายทุกคำไป เช่น “มาซิเจ้าถ่อย, ไปซิเจ้าถ่อย, นำไปซิเจ้าถ่อย, ถือเอาซิเจ้าถ่อย” พวกภิกษุทั้งหลายเป็นอันมากจึงพากันเข้ากราบทูลเนื้อความนั้นแก่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ทรงรับสั่งให้ภิกษุรูปหนึ่ง ไปเรียกตัวเข้ามาเฝ้า ครั้นพระปิลินทวัจฉะ เข้ามาเฝ้าแล้ว ทรงรับสั่งถาม ดูกร ปิลินทวัจฉะ ได้ทราบข่าวว่า เธอร้องเรียกพวกภิกษุ ด้วยวาทะว่า“วสล”จริงหรือ?จึงกราบทูลว่าจริงอย่างนั้นพระพุทธเจ้าข้า  พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงนึกถึงบุพเพสันนิวาสของท่านพระปิลินทวัจฉะแล้ว ตรัสกับภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย การกล่าวเช่นนั้น แห่งบุตรของเรา จนเคยชินในปัจจุบันเท่านั้น หามิได้ แต่ในอดีตกาล บุตรของเรานี้ บังเกิดในครอบครัวแห่งพราหมณ์ ผู้มักกล่าวว่า ถ่อย ถึง ห้าร้อยชาติ ดังนั้น บุตรของเรานี้ จึงกล่าวเพราะความเคยชิน มิได้กล่าวด้วยเจตนาหยาบ จริงอยู่ โวหารแห่งพระอริยะทั้งหลาย แม้จะหยาบอยู่บ้าง ก็ชื่อว่าบริสุทธิ์แท้เพราะไม่หยาบไม่เป็นบาปแม้มีประมาณเล็กน้อยเพราะการกล่าวนี้  พระปิลินทวัจฉเถระ มีวาจาสิทธิ์รูปหนึ่ง
และได้รับยกย่องจากพระบรมศาสดาว่าเป็นผู้เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายผู้เป็นที่รักใคร่เจริญใจของเทพยดา 

 

Generic selectors
Exact matches only
Search in title
Search in content
Post Type Selectors
post