Skip to content
เวลาทำการ: วันอังคาร - วันอาทิตย์ เวลา 09.00 - 17.00 น.
02 047 6881
Tiktok
Facebook-f
Instagram
Youtube
Language
-
Afrikaans
-
af
Albanian
-
sq
Amharic
-
am
Arabic
-
ar
Armenian
-
hy
Azerbaijani
-
az
Basque
-
eu
Belarusian
-
be
Bengali
-
bn
Bosnian
-
bs
Bulgarian
-
bg
Catalan
-
ca
Cebuano
-
ceb
Chichewa
-
ny
Chinese (Simplified)
-
zh-CN
Chinese (Traditional)
-
zh-TW
Corsican
-
co
Croatian
-
hr
Czech
-
cs
Danish
-
da
Dutch
-
nl
English
-
en
Esperanto
-
eo
Estonian
-
et
Filipino
-
tl
Finnish
-
fi
French
-
fr
Frisian
-
fy
Galician
-
gl
Georgian
-
ka
German
-
de
Greek
-
el
Gujarati
-
gu
Haitian Creole
-
ht
Hausa
-
ha
Hawaiian
-
haw
Hebrew
-
iw
Hindi
-
hi
Hmong
-
hmn
Hungarian
-
hu
Icelandic
-
is
Igbo
-
ig
Indonesian
-
id
Irish
-
ga
Italian
-
it
Japanese
-
ja
Javanese
-
jw
Kannada
-
kn
Kazakh
-
kk
Khmer
-
km
Korean
-
ko
Kurdish (Kurmanji)
-
ku
Kyrgyz
-
ky
Lao
-
lo
Latin
-
la
Latvian
-
lv
Lithuanian
-
lt
Luxembourgish
-
lb
Macedonian
-
mk
Malagasy
-
mg
Malay
-
ms
Malayalam
-
ml
Maltese
-
mt
Maori
-
mi
Marathi
-
mr
Mongolian
-
mn
Myanmar (Burmese)
-
my
Nepali
-
ne
Norwegian
-
no
Pashto
-
ps
Persian
-
fa
Polish
-
pl
Portuguese
-
pt
Punjabi
-
pa
Romanian
-
ro
Russian
-
ru
Samoan
-
sm
Scots Gaelic
-
gd
Serbian
-
sr
Sesotho
-
st
Shona
-
sn
Sindhi
-
sd
Sinhala
-
si
Slovak
-
sk
Slovenian
-
sl
Somali
-
so
Spanish
-
es
Sundanese
-
su
Swahili
-
sw
Swedish
-
sv
Tajik
-
tg
Tamil
-
ta
Telugu
-
te
Thai
-
th
Turkish
-
tr
Ukrainian
-
uk
Urdu
-
ur
Uzbek
-
uz
Vietnamese
-
vi
Welsh
-
cy
Xhosa
-
xh
Yiddish
-
yi
Yoruba
-
yo
Zulu
-
zu
หน้าหลัก
โซน
ภาพวาดพุทธประวัติย่อ
พระพุทธเจ้า 29 พระองค์
โซนที่ 1 พระพุทธเจ้า
⚊ ภาพพุทธประวัติ 80 ภาพ
⚊ พระพุทธจริยวัตร ๖๐ ปาง
⚊ ภาพพุทธประวัติ 80 ภาพพร้อมคำบรรยาย
⚊ พระพุทธรูปปางปฐมเทศนา
⚊ พระพุทธชินราช
⚊ พระพุทธรูปประจำพระอารามหลวง
โซนที่ 2 พระธรรม
⚊ เสาธรรมะ
⚊ กาลานุกรม
⚊ พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร
⚊ สังเวชนียสถาน4
โซนที่ 3 พระสงฆ์
โซนที่ 4 สรุปหลักธรรม-ห้องพระไตรปิฎก
⚊ ผังสรุปหลักธรรม
⚊ ห้องพระไตรปิฎก
⚊ ห้องธรรมนิพนธ์
โซนที่ 5 โลกียภูมิ
⚊ ภาพพระมาลัย
⚊ สังสารวัฏ 31 ภูมิ
⚊ ถ้ำพระอริยสงฆ์
⚊ ห้องอสุภกรรมฐาน
โซนที่ 6 บัว 4 เหล่าและภาพ 3 มิติ
โซนที่ 7 สมเด็จพระสังฆราชฯ
โซนที่ 8 พระอสีติมหาสาวก
โซนที่ 9 วิหารพระโพธิ์สัตว์
โซนที่ 10 ธรรมปฏิบัติและโลกุตตรภูมิ
โซนที่ 11 ลานธรรมปฏิบัติ
โซนที่ 12 พระบูรพาจารย์ 30 องค์
โซนพิเศษ โลกียภูมิและโลกุตตรภูมิ
พิพิธภัณฑ์แห่งพุทธปัญญา
พระพุทธเจ้า
พุทธประวัติ29พระพุทธเจ้า
ภาพวาดพุทธประวัติ 80 ภาพ (ครูเหม เวชกร)
พระพุทธจริยวัตร 60 ปาง (ศ.พิเศษ เสถียรพงษ์ วรรณปก)
พระธรรม
ธาตุรู้
เสาธรรมะ
ปริญไญยธรรม
ปหาตัพพธรรม
สัจฉิกาตัพพธรรม
ภาเวตัพพธรรม
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร?
อริยสัจ 4 ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ
อริยสัจข้อที่ ๑ : ทุกขอริยสัจ - ชีวิตคืออะไร? ชีวิตเป็นอย่างไร?
อริยสัจข้อที่ ๒ : สมุทัยอริยสัจ - ชีวิตเป็นไปอย่างไร?
อริยสัจข้อที่ ๓ : นิโรธอริยสัจ - ชีวิตควรเป็นอย่างไร?
อริยสัจข้อที่ ๔ : มรรคอริยสัจ - ชีวิตควรเป็นอยู่อย่างไร?
สรุปหลักธรรมที่สำคัญในพระพุทธศาสนา/ภาคผนวก
อายตนะ ๖
ชีวิตคืออะไร
ชีวิตเป็นอย่างไร
ชีวิตควรให้เป็นอย่างไร
ชีวิตควรเป็นอยู่อย่างไร
โลกุตตรภูมิ
ปฏิจจสมุปบาท กระบวนการเวียนว่ายตายเกิดและการดับทุกข์
ปฏิจจสมุปบาทสมุทยวาร
กระบวนการเวียนว่ายตายเกิด (เกิดความทุกข์/โลกียภูมิ)
ปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร
กระบวนการหยุดการเวียนว่ายตายเกิด (ดับความทุกข์/โลกตตรภูมิ)
ปฏิจจสมุปบาทกับมุตโตทัย
พระอริยบุคคล และการละสังโยชน์ ๑๐
ความสัมพันธ์ระหว่างปฏิจจสมุปบาทกับมุตโตทัย
พระสงฆ์
พระอัครสาวก และอสีติมหาสาวก (มหาสาวก 80 องค์)
สมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ 20 พระองค์
พระบูรภาจารย์ด้านอภิญญา ทรงปฏิปทาดงค์คุณ 30 องค์ และพระบูรภาจารย์ด้านอภิญญาทรงปฏิปทาเอื้อมหาชน 18 องค์
โลกียภูมิและโลกุตรภูมิ
โลกียภูมิและสังสารวัฏ 31 ภูมิ
ภาพพระมาลัยเทวเถรท่องนรกสวรรค์
เทวภูมิ 6 พรหมโลก 20
โลกียภูมิและสังสารวัฏ 31 ภูมิ : ภูมิและบุพกรรม
โลกุตรภูมิ : ธรรมปฏิบัติเพื่อความหลุดพ้น
สรุปหลักธรรมในพุทธศาสนา โดย หลวงปู่ เปลี่ยน ปัญญาปทีโป
หลักการปฏิบัติภาวนา (หลวงปู่ เปลี่ยน ปัญญาปทีโป)
ศีล สมาธิ ปัญญา ในทางปฏิบัติ โดย หลวงพ่อพุธ ฐานิโย
การเจริญสมถะและวิปัสสนา โดย สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร (สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่19)
อุบายแห่งวิปัสสนาอันเป็นเครื่องถ่ายถอนกิเลส โดย พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต
การปฏิบัติเริ่มต้นจนเข้าถึงพระนิพพาน โดย หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน
การปฏิบัติเพื่อการบรรลุความเป็นพระอริยบุคคล โดย หลวงพ่อฤาษีลิงดํา
กายานุปัสสนาและอสุภะ 10(หลวงพ่อฤาษีลิงดํา)
มหาสติปัฏฐานสูตร (หลวงพ่อฤาษีลิงดํา)
มุตโตทัย แนวทางปฏิบัติให้ถึงความหลุดพ้น (หลวงปู่ มั่น)
วิธีสร้างบุญบารมี(สมเด็จพระสังฆราชฯ)
ปฏิปัตติปุจฉาวิสัชนา (คุณหญิงใหญ่)
พุทธพจน์เกี่ยวกับพระนิพพาน
ธรรมะนำชีวิต**
ธรรมะนำชีวิต - อมฤตพจนา คติธรรมสอนใจ
พิพิธภัณฑ์เสมือนจริง
ห้องสมุด
ธรรมะพีเดีย
เกี่ยวกับเรา
ประวัติพิพิธภัณฑ์
ประวัติมูลนิธิ
ผู้บริหาร
ติดต่อเรา
ชาร์ต :อุบายเเห่งวิปัสสนาอันเป็นเครื่องถ่ายถอนกิเลส
หน้าหลัก
โซน
โซนที่ ๑๐ หลักธรรมปฏิบัติและโลกุตตรภูมิ
สมถะและวิปัสสนากรรมฐาน
ชาร์ต :อุบายเเห่งวิปัสสนาอันเป็นเครื่องถ่ายถอนกิเลส
ชาร์ต :อุบายเเห่งวิปัสสนาอันเป็นเครื่องถ่ายถอนกิเลส
Prev
ข้อมูลก่อนหน้า
1.
ธรรมชาติ
ของดีทั้งหลาย ย่อมเกิดมาแต่ของไม่ดี
2. ผู้ประพฤติพากเพียร ย่อมพิจารณาซึ่ง
สิ่งสกปรก
น่าเกลียด จิตจึงพ้นสิ่งสกปรกน่าเกลียดได้ คือ
ตัวเรา
นี่เอง
ร่างกายเป็นที่ประชุมแห่งของโสโครก
เรียกว่า
ขี้
ร่างกายนี้ต้องชำระอยู่เสมอจึงพอเป็นของดูได้
3.
ร่างกาย
ของเรานี้เป็นเรือนมูตร เรือนคูถ เป็น
อสุภะ
ของไม่งาม
ปฏิกูลน่าเกลียด
4. จึงพิจารณา
ร่างกาย
อันนี้ให้ชำนิชำนาญด้วย
โยนิโสมนสิการ
5.
พิจารณา
ส่วนใดส่วนหนึ่งแห่ง
กาย
อันเป็นที่สบายแก่
จริต
6. ปรากฎเป็น
อุคคหนิมิต
คือปรากฏส่วนแห่งร่างกายส่วนใดส่วนหนึ่งแล้วก็กำหนดส่วนนั้นให้มาก
เจริญให้มาก
ทำให้มาก
7. พระโยคาวจร
พิจารณากาย
ในที่เคยพิจารณาอันถูกนิสัย หรือที่ปรากฎมาให้เห็นครั้งแรก อย่าละทิ้งเลยเป็นอันขาด การทำให้มากนั้นมิใช่หมายแต่การเดินจงกรมเท่านั้น ให้มี
สติหรือพิจารณาในที่ทุกสถาน
ในการทุกเมื่อ ยืน เดิน นั่ง นอน กิน ดื่ม ทำ คิด พูด ก็ให้มีสติรอบคอบในกายอยู่เสมอ
8. ให้
พิจารณาแบ่งส่ว
น แยกส่วนออกเป็นส่วนๆ ตาม
โยนิโสมนสิการ
ตลอดจนกระจายออกเป็น
ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุไฟ ธาตุลม
และพิจารณาให้เห็นไปตามนั้นจริงๆ ใคร่ครวญออกอุบายตามที่ถูก
จริต
นิสัยของตน แต่อย่าละทิ้งหลักเดิมที่ตนได้รู้ครั้งแรกนั่นเทียว
9.ให้พิจารณาก้าวเข้าไป ถอยออกมา เป็นอนุโลมปฏิโลมคือเข้าไปสงบในจิต แล้วถอยออกมาพิจารณากาย อย่าพิจารณากายอย่างเดียว หรือสงบที่จิตแต่อย่างเดียว
11.ญาณสัมปยุต คือรู้ขึ้นมาพร้อมกัน ชื่อว่า ยถาภูตญาณ ทัสสนวิปัสสนา คือทั้งเห็นทั้งรู้ ตามความเป็นจริง
12. เห็นแจ้งชัดว่า
สังขาร
ความปรุงแต่งอันเป็น
ความสมมติ
ว่า โน่นเป็นของเรา นั่นเป็นของเรา เป็น
ความไม่เที่ยง
อาศัย
อุปาทาน
ความยึดถือจึงเป็น
ทุกข์
ก็แล
ธาตุทั้งหลาย
ต่างหาก หากมีความเป็นอยู่อย่างนี้ตั้งแต่ไหนแต่ไรมา เกิด-แก่-เจ็บ-ตาย เกิดขึ้นเสื่อมไปอยู่อย่างนี้ อาศัยอาการของจิต คือ
ขันธ์ ๔
ได้แก่
เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณไปปรุงแต่ง
13.จึงทำให้จิตหลงอยู่ตามสมมติไม่ใช่สมมติมาติดเอาเรา
14.ปุพฺเพสุ อนนุสฺ สุเตสุ ธมฺเมสุ ธรรมดาเหล่านี้หากมีมาแต่ก่อน ถึงว่าจะไม่ได้ฟังจากใครก็มีอยู่อย่างนั้นทีเดียว
15.ธรรมดาธาตุทั้งหลายย่อมเป็นย่อมมีอยู่อย่างนั้น อาศัยอาการของจิตเข้าไปยึดถือเอาสิ่งทั้งปวงเหล่านั้นมาหลายภพหลายชาติ จึงเป็นเหตุให้เป็นไปตามสมมตินั่น เป็นเหตุให้อนุสัยครอบงำจิตจนหลงเชื่อไปตาม จึงเป็นเหตุให้ก่อภพก่อชาติ ด้วยอาการของจิตเข้าใจยึด
16.สพฺเพ สงฺขารา อนิจจา สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขา สังขารความเข้าไปปรุงแต่ง คืออาการของจิตนั่นแลไม่เที่ยง ตัวอาการของจิตนี้เองมันไม่เที่ยง เป็นทุกข์ จึงหลงตามสังขาร
17.สงฺขารา สสฺสตา นตฺถิ สังขารทั้งหลายที่เที่ยงแท้ไม่มี สังขารเป็นอาการของจิตต่างหาก
18.ฐีติภูตํ จิตดั้งเดิมไม่มีอาการเป็นผู้หลุดพ้น ธรรมดาหรือธรรมทั้งหลายไม่ใช่ตน จะใช่ตนอย่างไร
19.สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา ธรรมทั้งหลายไม่ใช่ตน พิจารณาให้เห็นแจ้งประจักษ์ตามนี้ จนทำให้รวมพรึบลงไปให้เห็นจริงแจ้งชัดตามนั่น โดยปัจจักขสิทธิ พร้อมกับญาณสัมปยุตปรากฎขึ้นมาพร้อมกัน จึงชื่อว่า วุฎฐานคามินิวิปัสสนา เห็นจริงแจ้งประจักษ์พร้อมกับการรวมใหญ่ และญาณสัมปยุตรวมทวนกระแสแก้อนุสัยสมมติเป็นวิมุตติ
20.ขีณา ชาติ ญาณํ โหติ ในที่นี้ไม่ใช่สมมติ ไม่ใช่ของแต่เอาเดาเอา ไม่ใช่ของอันบุคคลพึงปรารถนาเอาได้ เป็นของที่เกิดเอง เป็นเอง รู้เองโดยส่วนเดียวเท่านั้น
Generic selectors
Exact matches only
Search in title
Search in content
Post Type Selectors
post