Language
 - 
Afrikaans
 - 
af
Albanian
 - 
sq
Amharic
 - 
am
Arabic
 - 
ar
Armenian
 - 
hy
Azerbaijani
 - 
az
Basque
 - 
eu
Belarusian
 - 
be
Bengali
 - 
bn
Bosnian
 - 
bs
Bulgarian
 - 
bg
Catalan
 - 
ca
Cebuano
 - 
ceb
Chichewa
 - 
ny
Chinese (Simplified)
 - 
zh-CN
Chinese (Traditional)
 - 
zh-TW
Corsican
 - 
co
Croatian
 - 
hr
Czech
 - 
cs
Danish
 - 
da
Dutch
 - 
nl
English
 - 
en
Esperanto
 - 
eo
Estonian
 - 
et
Filipino
 - 
tl
Finnish
 - 
fi
French
 - 
fr
Frisian
 - 
fy
Galician
 - 
gl
Georgian
 - 
ka
German
 - 
de
Greek
 - 
el
Gujarati
 - 
gu
Haitian Creole
 - 
ht
Hausa
 - 
ha
Hawaiian
 - 
haw
Hebrew
 - 
iw
Hindi
 - 
hi
Hmong
 - 
hmn
Hungarian
 - 
hu
Icelandic
 - 
is
Igbo
 - 
ig
Indonesian
 - 
id
Irish
 - 
ga
Italian
 - 
it
Japanese
 - 
ja
Javanese
 - 
jw
Kannada
 - 
kn
Kazakh
 - 
kk
Khmer
 - 
km
Korean
 - 
ko
Kurdish (Kurmanji)
 - 
ku
Kyrgyz
 - 
ky
Lao
 - 
lo
Latin
 - 
la
Latvian
 - 
lv
Lithuanian
 - 
lt
Luxembourgish
 - 
lb
Macedonian
 - 
mk
Malagasy
 - 
mg
Malay
 - 
ms
Malayalam
 - 
ml
Maltese
 - 
mt
Maori
 - 
mi
Marathi
 - 
mr
Mongolian
 - 
mn
Myanmar (Burmese)
 - 
my
Nepali
 - 
ne
Norwegian
 - 
no
Pashto
 - 
ps
Persian
 - 
fa
Polish
 - 
pl
Portuguese
 - 
pt
Punjabi
 - 
pa
Romanian
 - 
ro
Russian
 - 
ru
Samoan
 - 
sm
Scots Gaelic
 - 
gd
Serbian
 - 
sr
Sesotho
 - 
st
Shona
 - 
sn
Sindhi
 - 
sd
Sinhala
 - 
si
Slovak
 - 
sk
Slovenian
 - 
sl
Somali
 - 
so
Spanish
 - 
es
Sundanese
 - 
su
Swahili
 - 
sw
Swedish
 - 
sv
Tajik
 - 
tg
Tamil
 - 
ta
Telugu
 - 
te
Thai
 - 
th
Turkish
 - 
tr
Ukrainian
 - 
uk
Urdu
 - 
ur
Uzbek
 - 
uz
Vietnamese
 - 
vi
Welsh
 - 
cy
Xhosa
 - 
xh
Yiddish
 - 
yi
Yoruba
 - 
yo
Zulu
 - 
zu

๑๙. พระอริยเวที  ( หลวงปู่เขียน  ฐิตสีโล )

พระสงฆ์
ไม่มี

๑๙. พระอริยเวที  ( หลวงปู่เขียน  ฐิตสีโล )

๑๙

๑๙. พระอริยเวที  ( หลวงปู่เขียน  ฐิตสีโล )

๑๙. พระอริยเวที  ( หลวงปู่เขียน  ฐิตสีโล )

วัดรังสีปาลิวัน  ตำบลโพน  อำเภอคำม่วง  จังหวัดกาฬสินธุ์

“พระอริยเจ้าผู้แตกฉานในอรรถและธรรม”

 

พระเดชพระคุณพระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล ป.ธ. ๙)  เป็นพระมหาเถระผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติ เป็นศิษย์ท่านพระอาจารย์ใหญ่มั่น ภูริทตฺโต ที่สำคัญรูปหนึ่ง ท่านชำนาญทั้งทางคันถธุระและวิปัสสนาธุระ ทรงความรู้ในทางพระพุทธศาสนาซึ่งหาได้ยากยิ่งนักในคณะกรรมฐานยุคปัจจุบัน ท่านละทิ้งเกียรติยศตำแหน่งในการบริหารคณะสงฆ์ มุ่งเพียรเกียรติอันยิ่งใหญ่คือพระนิพพาน ละจากความเป็นพระบ้านเข้าสู่ความเป็นพระป่าได้อย่างสนิทใจ เป็นแบบอย่างแก่อนุชนรุ่นหลังที่หลงติดจมในลาภยศสรรเสริญได้เป็นอย่างดี

ชีวิตวันหนึ่งคืนหนึ่ง รู้สึกว่าจะน้อยมาก สำหรับที่จะทำความพากเพียร ไม่เพียงพอเลย วันหนึ่ง ๆ มีแต่ต้อนรับผู้คน พูดคุยเรื่องต่าง ๆ เสียเวลาทำความเพียร เป็นการทำชีวิตให้เป็นหมัน เพราะเรื่องที่พูดนั้นเป็นเรื่องข้างนอกทั้งนั้น

นอกจากนั้นยังเป็นการคลุกคลีด้วยหมู่คณะจนเกินไป อันเป็นทางให้เกิดความประมาท เป็นปัญจธรรม คือธรรมอันเป็นเหตุให้เนิ่นช้าในคุณธรรมอันยิ่งขึ้นไป หลงตัวลืมตัวมัวเมามืดมน อนธการ คิด ๆ ดูแล้วก็สงสารหมู่คณะที่อยู่ในเมือง

ถ้าจะให้เรากลับมาอยู่ในเมืองอีก ให้ตายเสียยังจะดีกว่า เพราะรู้สึกอึดอัดคับแค้นใจมาก ฟัง คิด พิจารณา เกิดมากี่ภพกี่ชาติจึงจะมีโอกาสงาม สำหรับบำเพ็ญสมณธรรมเช่นชาตินี้  “ทุลฺลภขณ สมฺปตฺติ”  สมณศักดิ์ ตำแหน่ง ห้ามอบายภูมิไม่ได้ แต่คุณความดี และศีล สมาธิ ปัญญาเท่านั้นที่ห้ามอบายภูมิได้

 

เกิด ๒๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๖

ละสังขาร ๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๖

อุปสมบท ๒๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๗

อายุ ๙๐

พรรษา ๖๘

วัด วัดรังสีปาลิวัน

ท้องที่ จ.กาฬสินธุ์

สังกัด ธรรมยุติกนิกาย

ที่มา

  • หนังสือ ๒๘ พระอรหันต์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระธุตังคเจดีย์ วัดอโศการาม จ.สมุทรปราการ
Generic selectors
Exact matches only
Search in title
Search in content
Post Type Selectors
post