Language
 - 
Afrikaans
 - 
af
Albanian
 - 
sq
Amharic
 - 
am
Arabic
 - 
ar
Armenian
 - 
hy
Azerbaijani
 - 
az
Basque
 - 
eu
Belarusian
 - 
be
Bengali
 - 
bn
Bosnian
 - 
bs
Bulgarian
 - 
bg
Catalan
 - 
ca
Cebuano
 - 
ceb
Chichewa
 - 
ny
Chinese (Simplified)
 - 
zh-CN
Chinese (Traditional)
 - 
zh-TW
Corsican
 - 
co
Croatian
 - 
hr
Czech
 - 
cs
Danish
 - 
da
Dutch
 - 
nl
English
 - 
en
Esperanto
 - 
eo
Estonian
 - 
et
Filipino
 - 
tl
Finnish
 - 
fi
French
 - 
fr
Frisian
 - 
fy
Galician
 - 
gl
Georgian
 - 
ka
German
 - 
de
Greek
 - 
el
Gujarati
 - 
gu
Haitian Creole
 - 
ht
Hausa
 - 
ha
Hawaiian
 - 
haw
Hebrew
 - 
iw
Hindi
 - 
hi
Hmong
 - 
hmn
Hungarian
 - 
hu
Icelandic
 - 
is
Igbo
 - 
ig
Indonesian
 - 
id
Irish
 - 
ga
Italian
 - 
it
Japanese
 - 
ja
Javanese
 - 
jw
Kannada
 - 
kn
Kazakh
 - 
kk
Khmer
 - 
km
Korean
 - 
ko
Kurdish (Kurmanji)
 - 
ku
Kyrgyz
 - 
ky
Lao
 - 
lo
Latin
 - 
la
Latvian
 - 
lv
Lithuanian
 - 
lt
Luxembourgish
 - 
lb
Macedonian
 - 
mk
Malagasy
 - 
mg
Malay
 - 
ms
Malayalam
 - 
ml
Maltese
 - 
mt
Maori
 - 
mi
Marathi
 - 
mr
Mongolian
 - 
mn
Myanmar (Burmese)
 - 
my
Nepali
 - 
ne
Norwegian
 - 
no
Pashto
 - 
ps
Persian
 - 
fa
Polish
 - 
pl
Portuguese
 - 
pt
Punjabi
 - 
pa
Romanian
 - 
ro
Russian
 - 
ru
Samoan
 - 
sm
Scots Gaelic
 - 
gd
Serbian
 - 
sr
Sesotho
 - 
st
Shona
 - 
sn
Sindhi
 - 
sd
Sinhala
 - 
si
Slovak
 - 
sk
Slovenian
 - 
sl
Somali
 - 
so
Spanish
 - 
es
Sundanese
 - 
su
Swahili
 - 
sw
Swedish
 - 
sv
Tajik
 - 
tg
Tamil
 - 
ta
Telugu
 - 
te
Thai
 - 
th
Turkish
 - 
tr
Ukrainian
 - 
uk
Urdu
 - 
ur
Uzbek
 - 
uz
Vietnamese
 - 
vi
Welsh
 - 
cy
Xhosa
 - 
xh
Yiddish
 - 
yi
Yoruba
 - 
yo
Zulu
 - 
zu

๑๖. พระครูญาณทัสสี  (หลวงปู่คำดี  ปภาโส)

พระสงฆ์
ไม่มี

๑๖. พระครูญาณทัสสี  (หลวงปู่คำดี  ปภาโส)

๑๖

๑๖. พระครูญาณทัสสี  (หลวงปู่คำดี  ปภาโส)

๑๖. พระครูญาณทัสสี  (หลวงปู่คำดี  ปภาโส)

วัดถ้ำผาปู่  อำเภอเมือง  จังหวัดเลย

“พระอริยเจ้าผู้อ่อนน้อมถ่อมตนเพื่อธรรม”

 

พระเดชพระคุณหลวงปู่คำดี ปภาโส พระอริยเจ้าศิษย์กรรมฐานสายท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ท่านเป็นผู้มีความสมบุกสมบันทั้งภายนอกและภายใน สันโดษ ไม่ชอบการก่อสร้าง

เบื้องต้น  ท่านศึกษาธรรมจากพระอาจารย์สิงห์ ขนฺตฺยาคโม ณ วัดป่าสาลวัน  อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา  จากนั้น ท่านท่องเที่ยวไปตามป่าเขา จนกระทั่งวาระสุดท้ายท่านได้กลับมาจำพรรษาที่วัดถ้ำผาปู่และได้รับอุบายธรรมอันสำคัญจากหลวงตามหาบัวจนถึงที่สุดแห่งทุกข์

 

บางคนภาวนาไปอยากเห็นภาพต่างๆ เช่น นรก สวรรค์ เทวดา เป็นต้น การที่ได้เห็นสิ่งเหล่านี้ไม่ได้มีอะไรแปลก ที่ว่าไม่แปลกก็เพราะว่าเมื่อเห็นแล้วกิเลสของเราก็ยังอยู่เหมือนเดิม บางคนแถมยังทำให้เกิดกิเลสเพิ่มมากขึ้นอีกเสียด้วย คือถือว่าตนเองเป็นผู้วิเศษที่สามารถเห็นสิ่งต่างๆ เหล่านั้นได้ เลยไม่ยอมกราบไหว้ใครทั้งนั้น จนกลายเป็นสัคคาวรณ์ มัคคาวรณ์ ปิดกั้นทางมรรค ทางผล ทางนิพพานไปโดยปริยาย ความเห็นสิ่งต่างๆ เหล่านี้เป็นความเห็นที่ผิดจากหลักของศาสนา ส่วนความเห็นที่ถูกนั้นคือการเห็นจิตตามความเป็นจริง เห็นกายตามความเป็นจริง คือเห็นธาตุ ๔ คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ ของตนและของคนอื่นสักแต่ว่าเป็นธาตุ ไม่ใช่สัตว์ บุคคล ตนตัว เราเขา และเห็นว่าเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ถ้าเราสามารถเห็นได้แบบนี้แล้ว เรียกว่า “เห็นกายตามความเป็นจริง

 

ส่วนที่ว่าเห็นจิตตามความเป็นจริงนั้น ท่านถือสภาพรู้เป็นตัว ไม่ได้ถือเวทนา ๓ เป็นตัว, เวทนา ๓ ก็คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อุเบกขาภาวนา (ความไม่สุขไม่ทุกข์คือเป็นกลาง) สิ่งเหล่านี้ก็จะต้องเห็นเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่มีตนไม่มีตัวในเวทนา ๓ ถือแต่ความรู้เป็นตัว ถ้าเราสามารถเห็นได้แบบนี้แล้ว เรียกว่า “เห็นจิตตามความเป็นจริง”

 

เกิด ๒๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๔๕

ละสังขาร ๑๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๗

อุปสมบท ๒๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๗๑

อายุ ๘๒

พรรษา ๕๔

วัด วัดถ้ำผาปู่

ท้องที่ จ.เลย

สังกัด ธรรมยุติกนิกาย

ที่มา

  • หนังสือ ๒๘ พระอรหันต์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระธุตังคเจดีย์ วัดอโศการาม จ.สมุทรปราการ
  • คัดลอกจากหนังสือ “ธรรมโอวาท” อนุสรณ์เนื่องในการที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุเคราะห์และเสด็จพระราชดำเนินพระราชทานเพลิงศพศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ (พ.ศ.๒๕๔๕)
Generic selectors
Exact matches only
Search in title
Search in content
Post Type Selectors
post