Language
 - 
Afrikaans
 - 
af
Albanian
 - 
sq
Amharic
 - 
am
Arabic
 - 
ar
Armenian
 - 
hy
Azerbaijani
 - 
az
Basque
 - 
eu
Belarusian
 - 
be
Bengali
 - 
bn
Bosnian
 - 
bs
Bulgarian
 - 
bg
Catalan
 - 
ca
Cebuano
 - 
ceb
Chichewa
 - 
ny
Chinese (Simplified)
 - 
zh-CN
Chinese (Traditional)
 - 
zh-TW
Corsican
 - 
co
Croatian
 - 
hr
Czech
 - 
cs
Danish
 - 
da
Dutch
 - 
nl
English
 - 
en
Esperanto
 - 
eo
Estonian
 - 
et
Filipino
 - 
tl
Finnish
 - 
fi
French
 - 
fr
Frisian
 - 
fy
Galician
 - 
gl
Georgian
 - 
ka
German
 - 
de
Greek
 - 
el
Gujarati
 - 
gu
Haitian Creole
 - 
ht
Hausa
 - 
ha
Hawaiian
 - 
haw
Hebrew
 - 
iw
Hindi
 - 
hi
Hmong
 - 
hmn
Hungarian
 - 
hu
Icelandic
 - 
is
Igbo
 - 
ig
Indonesian
 - 
id
Irish
 - 
ga
Italian
 - 
it
Japanese
 - 
ja
Javanese
 - 
jw
Kannada
 - 
kn
Kazakh
 - 
kk
Khmer
 - 
km
Korean
 - 
ko
Kurdish (Kurmanji)
 - 
ku
Kyrgyz
 - 
ky
Lao
 - 
lo
Latin
 - 
la
Latvian
 - 
lv
Lithuanian
 - 
lt
Luxembourgish
 - 
lb
Macedonian
 - 
mk
Malagasy
 - 
mg
Malay
 - 
ms
Malayalam
 - 
ml
Maltese
 - 
mt
Maori
 - 
mi
Marathi
 - 
mr
Mongolian
 - 
mn
Myanmar (Burmese)
 - 
my
Nepali
 - 
ne
Norwegian
 - 
no
Pashto
 - 
ps
Persian
 - 
fa
Polish
 - 
pl
Portuguese
 - 
pt
Punjabi
 - 
pa
Romanian
 - 
ro
Russian
 - 
ru
Samoan
 - 
sm
Scots Gaelic
 - 
gd
Serbian
 - 
sr
Sesotho
 - 
st
Shona
 - 
sn
Sindhi
 - 
sd
Sinhala
 - 
si
Slovak
 - 
sk
Slovenian
 - 
sl
Somali
 - 
so
Spanish
 - 
es
Sundanese
 - 
su
Swahili
 - 
sw
Swedish
 - 
sv
Tajik
 - 
tg
Tamil
 - 
ta
Telugu
 - 
te
Thai
 - 
th
Turkish
 - 
tr
Ukrainian
 - 
uk
Urdu
 - 
ur
Uzbek
 - 
uz
Vietnamese
 - 
vi
Welsh
 - 
cy
Xhosa
 - 
xh
Yiddish
 - 
yi
Yoruba
 - 
yo
Zulu
 - 
zu

สรุปหลักธรรมในพุทธศาสนา โดย หลวงปู่ เปลียน ปัญญาปทีโป

โลกียภูมิและโลกุตรภูมิ
ไม่มี

สรุปหลักธรรมในพุทธศาสนา โดย หลวงปู่ เปลียน ปัญญาปทีโป

สรุปหลักธรรมในพุทธศาสนา โดย หลวงปู่ เปลียน ปัญญาปทีโป

 
(1) เกิด เเก่ เจ็บ ตายเกิด แก่ เจ็บ ตาย 
–  รูปขันธ์ 🡪  จะต้องดูแลรักษาตลอดชีวิต (ภาระหนัก)
     
(2) รูปร่างกาย เป็น ทุกข์กาย 2.1 ทุกข์กาย ทุกข์ใจ 2.1.1 จิต  ไม่รู้ว่าเป็น (อวิชชา)
“ไตรลักษณ์”
(อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา)
 
    2.1.2 จิต  ไม่อยากให้รูปร่างกาย
เกิดการเปลี่ยนแปลง ซึ่งฝืน
กับความจริง
2.1.2 .1 จิต  เกิดความยึดมั่นถือมั่น
(อุปาทาน) ในตัณหา
      2.1.2 .2 จิต  ทำให้เกิดภพและชาติ
(เกิดใหม่ในภพใหม่)
      2.1.2 .3 จิต  เวียนว่ายตายเกิด
ในวัฎสงสาร
    2.1.3 จิต  เกิดความทุกข์  
    2.1.4 ทุกข์กายและทุกข์ใจ  
  2.2 ทุกข์กาย สุขใจ 2.2.1 จิต  รู้ว่ารูปร่างกาย (รูปขันธ์) เป็น (วิชชา)
“ไตรลักษณ์”
(อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) เป็นกฎธรรมชาติ
(ความจริง)
–  สิ่งใดมีเกิด ย่อมมีดับไปเป็นธรรมดา
–  สังขารเป็นสิ่งที่ไม่เที่ยง
–  ขันธ์ 5 เป็น “ไตรลักษณ์
 
    2.2.2 (หลักวิปัสสนา)
จิต  ปล่อยวางในขันธ์ 5
(รวมรูปขันธ์หรือร่างกาย)
จิต  ละอุปาทาน
(ละความยึดมั่นถือมั่น)
 
    2.2.3 จิต  พิจารณาขันธ์ 5 เป็นเพียงที่อาศัยชั่วคราว เมื่อขันธ์ 5 หมดสภาพ (ตาย) ก็ย้ายจิตไปเกิดใหม่ (จุติ) หรือหยุดการเกิด (นิพพาน)  
    2.2.4 จิต  เกิดความสุขใจ  
      2.2.4 .1 ทุกข์กายแต่สุขใจ
    2.2.5 โลกุตรสุข  
    2.2.6 โลกุตรภูมิ  
    2.2.7 โสดาบัน สกิทาคามี อนาคามี อรหันต์  
    2.2.8 หยุดวงจรการเกิด  
    2.2.9 สิ้นสุดทุกข์ทั้งกายและใจ  
    2.2.10 เป้าหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา คือ “พระนิพพาน”
หยุดการเวียนว่ายตายเกิด (วัฎสงสาร)
สิ้นสุดทุกข์อย่างถาวร และมีความสุขอย่างแท้จริง
 
 
 

 

 

 

 

 

 

ปฏิจจสมุปบาท

สมุทัย  (กระบวนการเกิดทุกข์) : ผู้ใดเห็นปฏิจจสมุปบาท  ผู้นั้นชื่อว่าเห็นธรรม ผู้ใดเห็นธรรม
ผู้นั้นชื่อว่าเห็นปฏิจจสมุปบาท

พุทธพจน์

1. อวิชชา  (ความไม่รู้) ไม่รู้ว่ามีกฏธรรมชาติ (ความจริง)
ไม่รู้เรื่อง “ไตรลักษณ์”
ไม่รู้ว่า “สิ่งใดมีเกิด ย่อมมีความดับ”
ไปเป็นธรรมดา (ธรรมชาติ)
2.สังขาร (สิ่งปรุงแต่ง) 2.1 สังขาร ที่ไม่มีวิญญาณ
(เช่น รถ ภูเขา)
  2.2 สังขาร ที่มีวิญญาณ
(เช่น คน สัตว์)
สังขาร  –  ความคิด
ชนิดดี         ชนิดไม่ดี
– คิดดี         – คิดชั่ว
– ศรัทธา     – โลภะ / โทสะ / โมหะ
– สติ
3. วิญญาณ
(การรับรู้ผ่าน อายตนะ)
 
4. นามรูป
(กายและใจ)
4. 1 นามรูป = รูปนาม
รูป = รูปธรรม (กาย)
นาม = นามธรรม (ใจ)
5. สฬายตนะ
(อายตนะ)
 
6. ผัสสะ
(อายตนะภายใน + อายตนะภายนอก + วิญญาณ
 
7.เวทนา
(สุข ทุกข์ เฉยๆ)
เกิดความอยาก
 
8.ตัณหา
(กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา)
อยากยึดเป็นของตัวเอง (ตัวกู)
 
9.อุปาทาน
(ความยึดมั่นถือมั่น)
ทำให้เกิด ที่อยู่ (ภพ) ใหม่
 
10.ภพ
(ที่อยู่ เช่น มนุษยโลก สวรรค์ พรหม)
มีการเกิด-ดับ
 
11.ชาติ
(การเกิด)
เกิด แก่ ตาย
 
12.ชรา / มรณะ 12.1 จิตออกจากร่าง (ขันธ์ 5) เดิม
ไปเกิดในร่างใหม่ (จิตเป็นอมตะ)
  12.2 เวียนว่ายตายเกิดใน
13.ความทุกข์
– เกิด แก่ เจ็บ ตาย 🡪 ทุกข์
– ผิดหวัง 🡪 ทุกข์
– สูญเสียสิ่งรัก 🡪 ทุกข์
 
14.เพราะมีอุปาทาน

 

กระบวนการเกิดและดับทุกข์โดยใช้หลักธรรม “ปฏิจจสมุปบาท”

สรุปทุกข์เพราะความถือมั่น

ตามหลักของปฏิจจสมุปบาท – สมุทัย   แสดงกระบวนการเกิดของความทุกข์ มาจากหลายสาเหตุ เริ่มตั้งแต่อวิชชา (ความไม่รู้ว่า  กิเลสทำให้เกิดทุกข์ เพราะทำให้เวียนว่ายตาย-เกิด

ดับทุกข์

1. เพราะเมื่ออวิชชาเป็นปัจจัย 1.1 ดับทุกข์ที่ต้นทางของสาเหตุ 
ของความทุกข์ คือ อวิชชา โดยความรู้เกี่ยวกับละกิเลสทุกชนิด
2. ทำให้เกิดการปรุงแต่ง (สังขาร) ทางจิต
–  ความคิดดี 🡪เป็นสุข
และ – ความคิดไม่ดี 🡪เป็นทุกข์
2.1 สร้างมโนภาพในจิตทั้งคิดดีและคิดไม่ดี
ดับทุกข์ โดยการคิดทำแต่เรื่องดี เพื่อจิตมีความสุข ซึ่งจะส่งผลให้รูปร่างกายเป็นสุขด้วย
3. ทำให้เกิดการรับรู้ผ่านอายตนะต่างๆ 
(วิญญาณ)
 
4. อันเป็นเหตุให้ขันธ์ 5 (รูปนาม) ทำงาน  
รูปร่างกายและการปรุงแต่งจิต โดยมี  
“จิตเป็นนาย กายเป็นบ่าว” ทุกภพทุกชาติ
4.1 จิตเป็นนาย กายเป็นบ่าว
ฝึกจิตให้คิดแต่เรื่องดีๆ เพื่อนำทางให้รูปร่างกาย ทำดีตามจิต 🡪นำความสุขมาให้ / ดับทุกข์
5.ส่งผลทำให้อายตนะทั้งภายในและภายนอก (สฬายตนะ) ทำงานตามจิตสั่ง  
6.รู้เท่าทันสัมผัส เกิดสัมผัส 6 (ผัสสะ)  
7.ส่งผลให้เกิดความสุข ความทุกข์ เฉยๆ (เวทนา)  
8.ส่งผลทำให้อยากมี (กามตัณหา) อยากเป็น (ภวตัณหา)  อยากไม่มี (วิภวตัณหา)  ซึ่งก็คือ กิเลสตัณหา 8.1 ดับทุกข์ที่ใจ โดยการดับที่เหตุ
คือกิเลสตัณหา
8.2 เลสตัณหาชนิดต่างๆ
9.เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดความยึดมั่นถือมั่น (อุปาทาน) ความยึดมั่นถือมั่น (อุปาทาน)
อยากเป็นเจ้าของ
หาทางยึดมาเป็นของตัวเอง
ได้ 🡪  สุข
ไม่ได้ 🡪 
ทุกข์
10.ส่งผลทำให้ ภพ  
11.ส่งผลทำให้มีการเกิดใหม่ (ชาติ)  
12.ผลที่ตามมาคือ ความแก่และความตาย (ชราและมรณะ)
ผิดหวัง 🡪 ทุกข์
สูญเสียของรัก 🡪 ทุกข์ 

ทุกข์

 

จะเห็นได้ว่า ความทุกข์ เกิดจากหลายปัจจัยของวงจรปฏิจจสมุปบาท 🡪ทำให้เกิดการเวียนว่ายตายเกิด 🡪ทุกข์ ไม่จบสิ้น ตราบใดที่ยังมีการเกิด หรือมีขันธ์ 5

ความทุกข์ สามารถดับลงได้โดยการตัดวงจร ณ จุดใดจุดหนึ่งของวรจร (ห่วงโซ่) ปฏิจจสมุปบาท เช่น ดับตัณหา ซึ่งส่งผลทำให้วงจรอยุดทำงาน ทำให้ไม่มีการเกิด (ชาติ) ซึ่งก็คือ หยุดการเวียนว่ายตายเกิดในวัฏสงสาร อันเป็นการดับความทุกข์อย่างถาวร

ปฏิจจสมุปบาท – นิโรธ (กระบวนการดับทุกข์) หยุดวงจรเวียนว่ายตายเกิดในวัฎสงสาร

1.วิชชา  (ความรู้)
อวิชชา ดับ
เกิดวิชชา (ความรู้)
เรื่อง (ความรู้เรื่องความจริงตามธรรมชาติ)
1) กฎธรรมชาติ (ความจริง)
2) ไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา)
3) สิ่งใดมีเกิด ย่อมมีความดับเป็นธรรมดา
  เกิดปัญญา
รู้แจ้งแทงตลอด
2.สังขาร ดับ
(ทั้งมีวิญญาณ และไม่มีวิญญาณ)
 
3.วิญญาณ ดับ  
4.นามรูป ดับ  
5.สฬายตนะ ดับ  
6.ผัสสะ ดับ  
7.เวทนา ดับ  
8.ตัณหา ดับ  
9.อุปาทาน ดับ  
10.ภพ ดับ  
11.ขาติ ดับ  
12. ชรา มรณะ ดับ  
ดับทุกข์

หมดสิ้นอาสวะ (กิเลส)

 
ไม่ต้องเวียนว่ายตาย  

พระนิพพาน

ทุกข์เพราะความถือมั่น

เปรียบเทียบจิตใจเหมือนเมล็ดข้าว

เมล็ดข้าว จิตใจ
การงอกของเมล็ดข้าว

1.ห่อหุ้มด้วยเปลือก

2.สามารถนำข้าวเปลือกไปปลูก
และงอกใหม่ และขยายพันธุ์ได้

การเกิดความทุกข์ใจ

1.ห่อหุ้มด้วยกิเลส

2.กิเลสทำให้เกิด ตัณหาและอุปาทาน
ซึ่งเป็นต้นเหตุของการเวียนว่ายตายเกิด
ในวัฎสงสาร

การดับการงอกของเมล็ดข้าว
1.นำข้าวเปลือกไปสีเหลือเพียงข้าวสาร

2.ข้าวสารนำไปปลูกไม่สามารถ
งอกเป็นต้นข้าว และขยายพันธุ์ไม่ได้

3.หยุดการงอกใหม่

การดับทุกข์ใจ
1.ขจัดกิเลสที่ห่อหุ้มจิตใจออกให้หมด
เพื่อให้จิตใจสะอาดบริสุทธิ์

2.ไม่เหลือกิเลสตัณหาและอุปาทาน 
ซึ่งทำให้วงจรการเวียนว่ายตายเกิด
ในวัฎสงสารขาดลง

3.ไม่มีการเกิดอีกต่อไป

4.เป็นการดับทุกข์ถาวร

Generic selectors
Exact matches only
Search in title
Search in content
Post Type Selectors
post