Language
 - 
Afrikaans
 - 
af
Albanian
 - 
sq
Amharic
 - 
am
Arabic
 - 
ar
Armenian
 - 
hy
Azerbaijani
 - 
az
Basque
 - 
eu
Belarusian
 - 
be
Bengali
 - 
bn
Bosnian
 - 
bs
Bulgarian
 - 
bg
Catalan
 - 
ca
Cebuano
 - 
ceb
Chichewa
 - 
ny
Chinese (Simplified)
 - 
zh-CN
Chinese (Traditional)
 - 
zh-TW
Corsican
 - 
co
Croatian
 - 
hr
Czech
 - 
cs
Danish
 - 
da
Dutch
 - 
nl
English
 - 
en
Esperanto
 - 
eo
Estonian
 - 
et
Filipino
 - 
tl
Finnish
 - 
fi
French
 - 
fr
Frisian
 - 
fy
Galician
 - 
gl
Georgian
 - 
ka
German
 - 
de
Greek
 - 
el
Gujarati
 - 
gu
Haitian Creole
 - 
ht
Hausa
 - 
ha
Hawaiian
 - 
haw
Hebrew
 - 
iw
Hindi
 - 
hi
Hmong
 - 
hmn
Hungarian
 - 
hu
Icelandic
 - 
is
Igbo
 - 
ig
Indonesian
 - 
id
Irish
 - 
ga
Italian
 - 
it
Japanese
 - 
ja
Javanese
 - 
jw
Kannada
 - 
kn
Kazakh
 - 
kk
Khmer
 - 
km
Korean
 - 
ko
Kurdish (Kurmanji)
 - 
ku
Kyrgyz
 - 
ky
Lao
 - 
lo
Latin
 - 
la
Latvian
 - 
lv
Lithuanian
 - 
lt
Luxembourgish
 - 
lb
Macedonian
 - 
mk
Malagasy
 - 
mg
Malay
 - 
ms
Malayalam
 - 
ml
Maltese
 - 
mt
Maori
 - 
mi
Marathi
 - 
mr
Mongolian
 - 
mn
Myanmar (Burmese)
 - 
my
Nepali
 - 
ne
Norwegian
 - 
no
Pashto
 - 
ps
Persian
 - 
fa
Polish
 - 
pl
Portuguese
 - 
pt
Punjabi
 - 
pa
Romanian
 - 
ro
Russian
 - 
ru
Samoan
 - 
sm
Scots Gaelic
 - 
gd
Serbian
 - 
sr
Sesotho
 - 
st
Shona
 - 
sn
Sindhi
 - 
sd
Sinhala
 - 
si
Slovak
 - 
sk
Slovenian
 - 
sl
Somali
 - 
so
Spanish
 - 
es
Sundanese
 - 
su
Swahili
 - 
sw
Swedish
 - 
sv
Tajik
 - 
tg
Tamil
 - 
ta
Telugu
 - 
te
Thai
 - 
th
Turkish
 - 
tr
Ukrainian
 - 
uk
Urdu
 - 
ur
Uzbek
 - 
uz
Vietnamese
 - 
vi
Welsh
 - 
cy
Xhosa
 - 
xh
Yiddish
 - 
yi
Yoruba
 - 
yo
Zulu
 - 
zu

ปฏิจจสมุปบาทกับมุตโตทัย

พระพุทธเจ้าตรัสรู้กฏธรรมชาติที่สำคัญ

(พระพุทธเจ้าตรัสรู้ในวันวิสาขบูชา วันเพ็ญเดือน ๖)

๑. กฎปฏิจจสมุปบาท สมุทยวาร

– กระบวนการเวียนว่ายตายเกิด และกระบวนเกิดความทุกข์ 

(เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย สังขารจึงมี สังขารเป็นตัวปรุงแต่จิตให้หลงไปตามสมมติ เป็นสาเหตุ

ทำให้เกิดภพเกิดชาติ อันเป็นเหตุทำให้เกิดการเวียนว่ายตายเกิด)

กฎปฏิจจสมุปบาท นิโรธวาร

– กระบวนการหยุดการเวียนว่ายตายเกิด และกระบวนการดับทุกข์

(ต้องดับอวิชชาด้วยวิชชา ซึ่งใช้ “สัมมาทิฏฐิ” ดับอวิชชา จะทำให้วงจรปฏิจจสมุปบาทขาดลง

อันจะส่งผลทำให้หยุดอุปาทาน/ภพ/ชาติ สิ้นสุดทุกข์และการเวียนว่ายตายเกิด)

๒. กฎไตรลักษณ์ : อนิจจัง (ไม่เที่ยง)  ทุกขัง (เป็นทุกข์)  อนัตตา (ไม่มีตัว ไม่มีตน)

– สังขารทั้งปวง ไม่ว่าจะเป็นสังขารที่มีวิญญาณ (เช่น คน สัตว์) หรือสังขารที่ไม่มีวิญญาณ ล้วนเป็น

ไปตามกฎไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา หรือ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่มีตัวไม่มีตน)

– สังขารปรุงแต่งจิต ทำให้จิตหลงในสิ่งสมมติ จึงยึดติดว่าเป็นตัวเรา ของเรา อันเป็นเหตุให้เกิดภพ

เกิดชาติ

– เพราะเมื่อวิชชาเป็นปัจจัย สังขารจึงมีและเป็นสาเหตุของการเวียนว่ายตายเกิด

– สังขารทั้งปวงเป็นอนิจจัง ทุกขัง และธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา

ขันธ์ ๕ เป็นไตรลักษณ์ (รูปร่างกาย)  มาจากธาตุ ๔ คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ และกลับไปสู่ธาตุเดิม (ดิน น้ำ

ลม ไฟ) เมื่อตาย

– จิตเป็นอมตะ (เที่ยง)

– เวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏ ๓๑ ภูมิ (โลกียภูมิ) หากปฏิบัติธรรมถึงขึ้นโลกุตตรภูมิ ก็หยุดการ เวียนว่ายตายเกิด

สรุป

พระพุทธเจ้าสอนอะไร?

พระพุทธศาสนาสอนให้รู้จักความทุกข์ว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร และสอนวิธีดับทุกข์ โดยหลักอริยมรรคมีองค์ ๘ หรือไตรสิกขา

คำสอนที่สำคัญของพระพุทธเจ้า ปรากฎในปฐมเทศนา มัชฌิมเทศนา และปัจฉิมเทศนา สรุปเนื้อหาของคำสอนเป็นดังนี้

๑. ปฐมเทศนา : คือธัมมจักรกัปปวัตนสูตร เป็นการสอนครั้งแรกแก่พระปัญจวัคคีย์ ในวันอาสาฬหบูชา (วันเพ็ญเดือน ๘) หัวใจของคำสอนคือ

๑.๑ ละเว้นการกระทำ 2 สุดโต่ง (เป็นตัวสมุทัย)

–  ละกามสุขัลลิกา เป็นส่วนของความรัก

–  ละอัตตกิลมถา เป็นส่วนของความชัง

๑.๒ ให้ปฏิบัติตามทางสายกลาง คือ มัชฌิมาปฏิปทา หรืออริยมรรคมีองค์ ๘

๑.๓ ให้ปฏิบัติตามอริยสัจ ๔ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค

๒. มัชฌิมเทศนา : เป็นการแสดง “โอวาทปาฏิโมกข์” ในวันมาฆบูชา (วันเพ็ญเดือน ๓) หัวใจของคำสอนคือ (ไตรสิกขา)

๒.๑ ศีล  :  ละความชั่ว

๒.๒ สมาธิ  :  ทำความดี

๒.๓ ปัญญา  :  ทำใจให้บริสุทธิ์

๓. ปัจฉิมเทศนา : เป็นการสอนครั้งสุดท้ายก่อนเข้าสู่ปรินิพพานในวันวิสาขบูชา (วันเพ็ญเดือน ๖) คำสอนที่สำคัญคือ

๓.๑ สังขารเป็นสิ่งไม่เที่ยง มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา ตามหลักไตรลักษณ์

๓.๒ จงอย่าประมาทในชีวิต ความตายเกิดขึ้นได้ทุกขณะ ให้ระลึกถึงความตายทุกลมหายใจ 

และเร่งทำความดี

ธรรมทั้ง ๓ กาล ล้วนแต่เล็งถึงวิมุตติธรรมทั้งสิ้น

8) สรุปวิธีสร้างบุญบารมี มีอะไร? (ทำบุญอะไร ได้บุญเท่าไร)

1)  การให้ทาน โลกียภูมิ : (มนุษยภูมิ / เทวภูมิ) 

2)  การรักษาศีล โลกียภูมิ : (เทวภูมิ)

3)  ภาวนา

3.1  สมาธิภาวนา / โลกียภูมิ (พรหมโลก : รูปพรหม / อรูปพรหม)

3.2  วิปัสสนาภาวนา / โลกุตตรภูมิ (โสดาบัน / สกิทาคามี/ อนาคามี / อรหันต์)

9) ตายแล้วไปเกิดเป็นอะไร ในขั้นโลกียภูมิ (ต้องมีการเวียนว่ายตายเกิด สังสารวัฏ ๓๑ ภูมิ)

1)  อบายภูมิ  ๔ ชั้น : ทำความชั่วไปเกิดเป็นเดรัจฉาน/เปรต/อสุรกาย/นรก

2)  มนุษยภูมิ  ๑ ชั้น : การให้ทาน

3)  เทวภูมิ  ๖ ภูมิ : การให้ทาน/รักษาศีล/การภาวนา

4)  พรหมโลก  ๒๐ ชั้น แบ่งเป็น 

    รูปพรหม ๑๖ ชั้น : สมถะภาวนา ถึงขั้นรูปฌาณ

อรูปพรหม  ๔ ชั้น : สมถะภาวนา ถึงขั้นอรูปฌาณ

10) ทำไมเกิดเป็นนุษย์จึงเป็นชาติสูงสุด?

การได้เกิดเป็นนุษย์ ถือเป็นภพภูมิสูงสุด เพราะตั้งอยู่ในฐานะอันเลิศด้วยคือมีกายสมบัติ 

วจีสมบัติ และมโนสมบัติ เพราะทำให้สามารถปฏิบัติธรรมนำตนเข้าสู่มรรคผลเข้าสู่พระนิพพานได้

โลกุตตรภูมิ (ไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิด)

11) ต้องปฏิบัติธรรมอย่างไร จึงไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิด
จะต้องพิจารณามหาสติปัฏฐาน โดยเฉพาะกายานุปัสสนา

รูปร่างกาย (ขันธ์ ๕) และจิต

มหาสติปัฏฐาน เป็นการพิจารณา กาย เวทนา จิต และธรรม โดยการพิจารณากาย (กายานุปัสสนา) เป็นการพิจารณาที่สำคัญที่สุด เพราะกายหรือรูปร่างกาย หรือขันธ์ ๕ (รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ) เป็นไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) มาจากธาตุ ๔ คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ เวลารูปขันธ์ดับ ขันธ์ที่เหลืออีก ๔ ขันธ์ (เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์) ก็ดับตามกลับไปสู่ธาตุเดิมคือ ดิน น้ำ ลม ไฟ

ส่วนจิตมาอาศัยรูปร่างกายอยู่เพียงชั่วคราว (เฉพาะในชาตินี้) เมื่อรูปร่างกายดับ จิตวิญญาณก็ไปเกิดใหม่ จะเป็นภพภูมิใดขึ้นอยู่กับกรรมที่สร้างไว้ ตามกฎแห่งกรรม “ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว”

จิตเป็นอมตะ (เที่ยง) เวียนว่ายตายเกิด หากยังไม่หยุดพ้น หรือยังไม่เข้าสู่พระนิพพาน

13) โลกุตตรภูมิ (ไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิด) : วิปัสสนาภาวนา ปฏิบัติอย่างไร?

– ใช้หลักวิปัสสนาภาวนา : ขันธ์ ๕ เป็นไตรลักษณ์

หรือ อายตนะ ๖ เป็นไตรลักษณ์

– พุทธพจน์เกี่ยวกับหลักวิปัสสนาภาวนา (ตามแนบ)

13) โลกุตตรภูมิ :  หยุดการเวียนว่ายตายเกิด

พระอริยบุคคลและการละสังโยชน์ และการปฏิบัติตามหลักไตรสิกขา ปฏิบัติอย่างไร?

Generic selectors
Exact matches only
Search in title
Search in content
Post Type Selectors
post