Language
 - 
Afrikaans
 - 
af
Albanian
 - 
sq
Amharic
 - 
am
Arabic
 - 
ar
Armenian
 - 
hy
Azerbaijani
 - 
az
Basque
 - 
eu
Belarusian
 - 
be
Bengali
 - 
bn
Bosnian
 - 
bs
Bulgarian
 - 
bg
Catalan
 - 
ca
Cebuano
 - 
ceb
Chichewa
 - 
ny
Chinese (Simplified)
 - 
zh-CN
Chinese (Traditional)
 - 
zh-TW
Corsican
 - 
co
Croatian
 - 
hr
Czech
 - 
cs
Danish
 - 
da
Dutch
 - 
nl
English
 - 
en
Esperanto
 - 
eo
Estonian
 - 
et
Filipino
 - 
tl
Finnish
 - 
fi
French
 - 
fr
Frisian
 - 
fy
Galician
 - 
gl
Georgian
 - 
ka
German
 - 
de
Greek
 - 
el
Gujarati
 - 
gu
Haitian Creole
 - 
ht
Hausa
 - 
ha
Hawaiian
 - 
haw
Hebrew
 - 
iw
Hindi
 - 
hi
Hmong
 - 
hmn
Hungarian
 - 
hu
Icelandic
 - 
is
Igbo
 - 
ig
Indonesian
 - 
id
Irish
 - 
ga
Italian
 - 
it
Japanese
 - 
ja
Javanese
 - 
jw
Kannada
 - 
kn
Kazakh
 - 
kk
Khmer
 - 
km
Korean
 - 
ko
Kurdish (Kurmanji)
 - 
ku
Kyrgyz
 - 
ky
Lao
 - 
lo
Latin
 - 
la
Latvian
 - 
lv
Lithuanian
 - 
lt
Luxembourgish
 - 
lb
Macedonian
 - 
mk
Malagasy
 - 
mg
Malay
 - 
ms
Malayalam
 - 
ml
Maltese
 - 
mt
Maori
 - 
mi
Marathi
 - 
mr
Mongolian
 - 
mn
Myanmar (Burmese)
 - 
my
Nepali
 - 
ne
Norwegian
 - 
no
Pashto
 - 
ps
Persian
 - 
fa
Polish
 - 
pl
Portuguese
 - 
pt
Punjabi
 - 
pa
Romanian
 - 
ro
Russian
 - 
ru
Samoan
 - 
sm
Scots Gaelic
 - 
gd
Serbian
 - 
sr
Sesotho
 - 
st
Shona
 - 
sn
Sindhi
 - 
sd
Sinhala
 - 
si
Slovak
 - 
sk
Slovenian
 - 
sl
Somali
 - 
so
Spanish
 - 
es
Sundanese
 - 
su
Swahili
 - 
sw
Swedish
 - 
sv
Tajik
 - 
tg
Tamil
 - 
ta
Telugu
 - 
te
Thai
 - 
th
Turkish
 - 
tr
Ukrainian
 - 
uk
Urdu
 - 
ur
Uzbek
 - 
uz
Vietnamese
 - 
vi
Welsh
 - 
cy
Xhosa
 - 
xh
Yiddish
 - 
yi
Yoruba
 - 
yo
Zulu
 - 
zu
พระพุทธเจ้า

เสาธรรมะ

สารบัญเสาธรรมะ

ธรรมที่เป็นหลักการสำคัญ จัดสงเคราะห์ในอริยสัจ ๔

และธัมมจักกัปปวัตตนสูตร

 

ธรรมที่เป็นหลักการสำคัญ จัดสงเคราะห์ในอริยสัจ ๔

   ก. ปริญไญยธรรม

ไตรลักษณ์  

ทุกขตา ๓

ธรรมนิยาม ๓ 

ธาตุ ๖ 

ขันธ์ ๕ 

นิยาม ๕ 

อายตนะ ๑๒ 

   ข. ปหาตัพพธรรม

กรรม ๓ 

ตัณหา ๓ 

ปปัญจะธรรม ๓ 

อกุศลมูล ๓ 

อาสวะ ๓ 

อาสวะ ๔ 

ปฏิจจสมุปบาท ๑๒ 

ปัจจัย ๒๔ 

   ค. สัจฉิกาตัพพธรรม

นิพพาน ๒ 

วิมุตติ ๒ 

สุข ๒๑ 

สุข ๒๒ 

อัตถะ ๓๑ 

อัตถะ ๓๒ 

มรรค ๔

ผล ๔ 

โลกุตตรธรรม ๙

   ง. ภาเวตัพพธรรม

ปัจจัยแห่งสัมมาทิฎฐิ ๒

บุพนิมิตแห่งมรรค ๗

พุทธโอวาท ๓

ไตรสิกขา, สิกขา ๓

บุญกิริยาวัตถุ ๓

บุญกิริยาวัตถุ ๑๐

ภาวนา ๒

ภาวนา ๔ 

มรรคมีองค์ ๘

กุศลกรรมบท ๑๐

  กุศลกรรมบท ๑๐

โพธิปักขิยธรรม ๓๗ 

ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร

 

ธรรมที่เป็นหลักการสำคัญ จัดสงเคราะห์ในอริยสัจ ๔

ก. ปริญไญยธรรม

ธรรมที่เข้ากับกิจในอริยสัจจ์ข้อที่ ๑ คือ ปริญญา (ธรรมอันพึงกำหนดรู้, สิ่งที่ควรรอบรู้ หรือรู้เท่าทันตามสภาวะของมัน ได้แก่ อุปาทานขันธ์ ๕ กล่าวคือ ทุกข์และสิ่งทั้งหลายที่อยู่ในจำพวกที่เป็นปัญหาหรือเป็นที่ตั้งแห่งปัญหา – Pariññyya-dhamma : things  to  be  fully  understood,  i.e.  the five aggregates of existence subject to clinging)

ข. ปหาตัพพธรรม

ธรรมที่เข้ากับกิจในอริยสัจจ์ข้อที่ ๒ คือ ปหานะ (ธรรมอันพึงละ, สิ่งที่จะต้องแก้ไขกำจัดทำให้หมดไป ว่าโดยต้นตอรากเหง้า ได้แก่ อวิชชา และภวตัณหา กล่าวคือธรรมจำพวกสมุทัยที่ก่อให้เกิดปัญหาเป็นสาเหตุของ ทุกข์ หรือพูดอีกอย่างหนึ่งว่า อกุศลทั้งปวง – Pahãtabba-dhamma: things to be abandoned, i.e. ignorance and craving for being)

ค. สัจฉิกาตัพพธรรม

ธรรมที่เข้ากับกิจในอริยสัจจ์ข้อที่ ๓ คือ สัจฉิกิริยา (ธรรมอันพึงประจักษ์แจ้ง, สิ่งที่ควรได้ควรถึงหรือควรบรรลุ ได้แก่ วิชชาและวิมุตติ เมื่อกล่าว โดยรวบยอดคือ นิโรธ หรือนิพพาน หมายถึงธรรมจำพวกที่เป็นจุดหมาย หรือเป็นที่ดับหายสิ้นไปแห่งทุกข์หรือปัญหา – Sacchikãtabba- dhamma : things to be realized,  i.e. true knowledge and freedom or liberation)

ง. ภาเวตัพพธรรม

ธรรมที่เข้ากับกิจในอริยสัจจ์ข้อที่ ๔ คือ ภาวนา (ธรรมอันพึงเจริญ หรือพึงปฏิบัติบำเพ็ญ, สิ่งที่จะต้องปฏิบัติ หรือลงมือทำ ได้แก่ ธรรมที่เป็น มรรค โดยเฉพาะสมถะและวิปัสสนา กล่าวคือ ประดา

ธรรมที่เป็นข้อ ปฏิบัติหรือเป็นวิธีการที่จะทำหรือดำเนินการ เพื่อให้บรรลุจุดหมายแห่ง การสลายทุกข์หรือดับปัญหา – Bhãvetabba-dhamma: things to be developed, i.e. tranquillity and insight, or, in other words, the Noble Eightfold Path)
M.III.๒๘๙; S.V.๕๒; A.II.๒๔๖. ม.อุ.๑๔/๘๒๙/๕๒๔; สํ.ม.๑๙/๒๙๑–๕/๗๘;องฺ.จตุกฺก.๒๑/๒๕๔/๓๓๓.

Generic selectors
Exact matches only
Search in title
Search in content
Post Type Selectors
post